วันวิสาขะบูชา | VESAK DAY
จัดทำโดย อ.สุชาติ ภูวรัตน์
นธ.เอก, บาลีประโยค 1-2
(อดีตพระธรรมทูตต่างประเทศ)
B.S. Engineering Design Tech.
B.A. ศาสนศาสตร์บัณฑิต
B.S. Computer Information Systems
B.TM. แพทย์แผนไทยบัณฑิต
สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
บ.ภ., พท.ว., พท.ผ., พท.น.
ครูแพทย์แผนไทย 4 ด้าน
ศูนย์การแพทย์แผนไทยภูเก็ต
ทำเพื่อการศึกษาและประโยชน์แก่ผู้ชม
วันประสูติ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6
สถานที่ประสูติ ลุมพินีวัน ประเทศเนปาล
เจดีย์พุทธคยา สถานทีตรัสรู้
วันตรัสรู้ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6
แท่นวัชรอาสน์ ที่ตรัสรู้
ใต้ต้นมหาโพธิ
ณ พุทธคยา ประเทศอินเดีย
สถานที่ตรัสรู้ ใต้ต้นมหาโพธิ
ณ พุทธคยา ประเทศอินเดีย
ณ พุทธคยา ประเทศอินเดีย
สถานที่ปรินิพพาน เมืองกุสินารา ประเทศอินเดีย
วันปรินิพพาน ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6
ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ตามปฏิทินจันทรคติของไทย
ซึ่งมักจะตรงกับเดือนพฤษภาคม หรือมิถุนายน แต่ถ้าปีใดมีอธิกมาส คือ มีเดือน 8 สองหน ก็เลื่อนไปเป็นวันขึ้น 15 ค่ำ กลางเดือน 7 หรือราวเดือนมิถุนายน วันวิสาขะบูชา
ถือเป็นวันสำคัญยิ่งทางพระพ ุทธศาสนา เพราะเป็นวันที่เกิด 3 เหตุการณ์สำคัญที่เกี่ยวกับ วิถีชีวิตของพระสัมมาสัมพุท ธเจ้า
เวียนมาบรรจบกันในวันเพ็ญเด ือน 6 แม้จะมีช่วงระยะเวลาห่างกัน นับเวลาหลายสิบปี
ซึ่งเหตุการณ์อัศจรรย์ 3 ประการ ได้แก่
ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ตามปฏิทินจันทรคติของไทย
ซึ่งมักจะตรงกับเดือนพฤษภาคม หรือมิถุนายน แต่ถ้าปีใดมีอธิกมาส คือ มีเดือน 8 สองหน ก็เลื่อนไปเป็นวันขึ้น 15 ค่ำ กลางเดือน 7 หรือราวเดือนมิถุนายน วันวิสาขะบูชา
ถือเป็นวันสำคัญยิ่งทางพระพ ุทธศาสนา เพราะเป็นวันที่เกิด 3 เหตุการณ์สำคัญที่เกี่ยวกับ วิถีชีวิตของพระสัมมาสัมพุท ธเจ้า
เวียนมาบรรจบกันในวันเพ็ญเด ือน 6 แม้จะมีช่วงระยะเวลาห่างกัน นับเวลาหลายสิบปี
ซึ่งเหตุการณ์อัศจรรย์ 3 ประการ ได้แก่
1. วันวิสาขะบูชา
เป็นวันที่พระพุทธเจ้าประสู ติ
เมื่อพระนางสิริมหามายา พระมเหสีของพระเจ้าสุทโธทนะ แห่งกรุงกบิลพัสดุ์ ทรงพระครรภ์แก่จวนจะประสูติ พระนางแปรพระราชฐานไปประทับ ณ กรุงเทวทหะ เพื่อประสูติในตระกูลของพระนางตามประเพณีนิยมในสมัยนั้น ขณะเสด็จแวะพักผ่อนพระอิริยาบถ ใต้ต้นสาละ ณ สวนลุมพินีวัน พระนางก็ได้ประสูติพระโอรส ณ ใต้ต้นสาละนั้น ซึ่งตรงกับวันเพ็ญเดือน 6 ก่อนพุทธศักราช 80 ปี ครั้นพระกุมารประสูติได้ 5 วัน ก็ได้รับการถวายพระนามว่า "สิทธัตถะ" แปลว่า "สมปรารถนา"
เมื่อข่าวการประสูติแพร่ไปถ ึงอสิตดาบส 4 ผู้อาศัยอยู่ในอาศรมเชิงเขา หิมาลัย
และมีความคุ้นเคยกับพระเจ้า สุทโธทนะ ดาบสจึงเดินทางไปเข้าเฝ้า
และเมื่อเห็นพระราชกุมารก็ท ำนายได้ทันทีว่า นี่คือผู้จะตรัสรู้เป็นพระส ัมมาสัมพุทธเจ้า
จึงกล่าวพยากรณ์ว่า "พระราชกุมารนี้จักบรรลุพระ สัพพัญญุตญาณ
เห็นแจ้งพระนิพพานอันบริสุท ธิ์อย่างยิ่ง ทรงหวังประโยชน์แก่ชนเป็นอั นมาก
จะประกาศธรรมจักรพรหมจรรย์ข องพระกุมารนี้จักแพร่หลาย"
แล้วกราบลงแทบพระบาทของพระก ุมาร พระเจ้าสุทโธทนะทอดพระเนตรเ ห็นเหตุการณ์นั้นทรงรู้สึกอ ัศจรรย์และเปี่ยมล้นด้วยปีต ิ
ถึงกับทรุดพระองค์ลงอภิวาทพ ระราชกุมารตามอย่างดาบส
2. วันวิสาขะบูชา
เป็นวันที่พระพุทธเจ้าตรัสร ู้อนุตตรสัมโพธิญาณ
หลังจากออกผนวชได้ 6 ปี
จนเมื่อพระชนมายุ 35 พรรษา เจ้าชายสิทธัตถะก็ทรงตรัสรู ้เป็ นพระพุทธเจ้า ณ
ใต้ร่มไม้ศรีมหาโพธิ์ ฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม
ในตอนเช้ามืดของวันพุธ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีระกา ก่อนพุทธศักราช 45 ปี
ปัจจุบันสถานที่ตรัสรู้แห่ง นี้ เรียกว่า พุทธคยา เป็นตำบลหนึ่งของเมืองคยา
แห่งรัฐพิหารของอินเดีย สิ่งที่ตรัสรู้ คือ อริยสัจสี่ เป็นความจริงอันประเสริฐ 4 ประการของพระพุทธเจ้า
ซึ่งพระพุทธเจ้าเสด็จไปที่ต ้นมหาโพธิ์ และทรงเจริญสมาธิภาวนาจนจิต เป็นสมาธิได้ฌานที่ 4 แล้วบำเพ็ญภาวนาต่อไปจนได้ญาน 3 คือ
ยามต้น : ทรงบรรลุ " ปุพเพนิวาสานุติญาณ " คือ ทรงระลึกชาติในอดีตทั้งของตนเองและผู้อื่นได้
ยามสอง : ทรงบรรลุ " จุตูปปาตญาณ "
คือ การรู้แจ้งการเกิดและดับของสรรพสัตว์ทั้งหลาย ด้วยการมีตาทิพย์สามารถเห็นการจุติและอุบัติของวิญญาณทั้งหลาย
ปัจฉ ิมโอวาท ว่า "ดูก่อนภิกษุทั้งหลายอันว่า สังขารทั้งหลายย่อมมีความเส ื่อมสลายไปเป็นธรรมดา
ท่านทั้งหลายจงยังกิจทั้งปว งอันเป็นประโยชน์ของตนและปร ะโยชน์ของผู้อื่นให้
บริบูรณ์ด้วยความไม่ประมาทเ ถิด" หลังจากนั้นก็เสด็จเข้าดับข ันธ์ปรินิพพาน
ในราตรีเพ็ญเดือน 6 นั้น
คือ การรู้แจ้งการเกิดและดับของสรรพสัตว์ทั้งหลาย ด้วยการมีตาทิพย์สามารถเห็นการจุติและอุบัติของวิญญาณทั้งหลาย
ยามสาม หรือยามสุดท้าย : ทรงบรรลุ "อาสวักขยญาณ"
" คือ รู้วิธีกำจัดกิเลสด้วย อริยสัจ 4 (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค) ได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพ ุทธเจ้า
ในคืนวันเพ็ญเดือน 6 ซึ่งขณะนั้นพระพุทธองค์มีพร ะชนมายุได้ 35 พรรษา
" คือ รู้วิธีกำจัดกิเลสด้วย อริยสัจ 4 (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค) ได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพ
3. วันวิสาขะบูชา
เป็นวันที่พระพุทธเจ้าเสด็จ เข้าสู่ปรินิพพาน
ปรินิพพาน หมายถึงดับสังขารไม่กลับมาเกิดสร้ างชาติ
สร้างภพอีกต่อไป เมื่อพระพุทธองค์ได้ตรัสรู้ และ แสดงธรรมเป็นเวลานานถึง 45 ปี
จนมีพระชนมายุได้ 80 พรรษา ได้ประทับจำพรรษา ณ เวฬุคาม ใกล้เมืองเวสาลี แคว้นวัชชี
ในระหว่างนั้นทรงประชวรอย่า งหนัก
ครั้นเมื่อถึงวันเพ็ญเดือน 6 พระพุทธองค์กับพระภิกษุสงฆ์ ทั้งหลาย
ก็ไปรับภัตตาหารบิณฑบาตที่บ ้านนายจุนทะ ตามคำกราบทูลนิมนต์
พระองค์เสวยสุกรมัททวะที่นา ยจุนทะตั้งใจทำถวายก็เกิดอา พาธลง
แต่ทรงอดกลั้นมุ่งเสด็จไปยั งเมืองกุสินารา ประทับ ณ ป่าสาละ
เพื่อเสด็จดับขันธ์ปรินิพพา น เมื่อถึงยามสุดท้ายของคืนนั ้น
พระพุทธองค์ก็ทรงประทาน
วันวิสาขะบูชา เป็นวันสำคัญสากลของสหประชา ชาติ
สหประชาชาติถือว่าวันวิสาขะบูชาเป็นวันสำคัญที่สุดทางพร ะพุทธศาสนา
เนื่องจากล้วนมีเหตุการณ์ที ่เกี่ยวข้องกับการถือกำเนิด ของพระพุทธศาสนา
คือ เป็นวันที่พระศาสดา คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน
ดังนั้นพุทธศาสนิกชนทั่วโลก จึงให้ความสำคัญกับวันวิสาข ะบูชานี้
และในวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2542 องค์การสหประชาชาติได้ยอมรั บญัตติที่ประชุม
กำหนดให้วันวิสาขะบูชาเป็นวั นสำคัญของโลก โดยเรียกว่า Vesak Day ตามคำเรียกร้องของชาวศรีลังกา ผู้ที่ยื่นเรื่องให้สหประชา ชาติพิจารณา
และได้กำหนดวันวิสาขะบูชานี้ ถือเป็นวันหยุดวันหนึ่งของส หประชาชาติอีกด้วย
ทั้งนี้ก็เพื่อให้ชาวพุทธทั ่วโลกได้มีโอกาสบำเพ็ญบุญเน ื่องในวันประสูติ
ตรัสรู้ และปรินิพพานของพระบรมศาสดา โดยการที่สหประชาชาติได้กำห นดให้
สหประชาชาติถือว่าวันวิสาขะบูชาเป็นวันสำคัญที่สุดทางพร
และในวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2542 องค์การสหประชาชาติได้ยอมรั
วันวิสาขะบูชา เป็นวันสำ คัญของโลก
สหประชาชาติ ได้ให้เหตุผลไว้ว่า องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเ จ้าทรงเป็นมหาบุรุษผู้ให้คว ามเมตตาต่อหมู่มวลมนุษย์
เปิดโอกาสให้ทุกศาสนาสามารถ เข้ามาศึกษาพุทธศาสนา เพื่อพิสูจน์หาข้อเท็จจริงไ ด้โดยไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนม านับถือศาสนาพุทธ
และทรงสั่งสอนทุกคนโดยใช้ปั ญญาธิคุณ โดยไม่คิดค่าตอบแทน
สหประชาชาติ ได้ให้เหตุผลไว้ว่า องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเ
การประกอบพิธีใน
วันวิสาขะบูชา การประกอบพิธีใน วันวิสาขะบูชา จะแบ่งออกเป็น 3 พิธี ได้แก่
1. พิธีหลวง คือ พระราชพิธีสำหรับพระมหากษัต ริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ ประกอบในวันวิสาขะบูชา
1. พิธีหลวง คือ พระราชพิธีสำหรับพระมหากษัต
2. พิธีราษฎร์
คือ พิธีของประชาชนทั่วไป
3. พิธีของพระสงฆ์
คือ พิธีที่พระสงฆ์ประกอบศาสนกิ จ
กิจกรรมใน วันวิสาขะบูชา
กิจกรรมที่พุทธศาสนิกชนพึงป ฏิบัติใน วันวิสาขะบูชา ได้แก่
1). ทำบุญใส่บาตร กรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลให้ญาต ิที่ล่วงลับ และเจ้ากรรมนายเวร
1). ทำบุญใส่บาตร กรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลให้ญาต
2). จัดสำรับคาวหวานไปทำบุญถวาย ภัตตาหารที่วัด
และปฏิบัติธรรม ฟังพระธรรมเทศนา
3). ปล่อยนกปล่อยปลา
เพื่อสร้างบุญสร้างกุศล
4). ร่วมเวียนเทียนรอบอุโบสถที่ วัดในตอนค่ำ
เพื่อรำลึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
5). ร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับวันสำค ัญทางพุทธศาสนา
6). จัดแสดงนิทรรศการ
ประวัติ หรือเรื่องราวความเป็นมาเกี ่ยวกับวันวิสาขะบูชาตามโรงเร ียน
หรือสถานที่ราชการต่างๆ เพื่อให้ความรู้ และเป็นการร่วมรำลึกถึงความ สำคัญของวันวิสาขะบูชา
7). ประดับธงชาติตามอาคารบ้านเร ือน
วัดและสถานที่ราชการ
8). บำเพ็ญสาธารณประโยชน์
หลักธรรมที่สำคัญใน
วันวิสาขะบูชา ที่ควรปฏิบัติ
ในวันวิสาขะบูชา พุทธศาสนิกชนทั้งหลายควรยึด มั่นในหลักธรรม ซึ่งหลักธรรมที่ควรนำมาปฏิบ ัติในวันวิสาขะบูชา ได้แก่
1. ความกตัญญู คือ การรู้คุณคน เป็นคุณธรรมที่คู่กับความกตเวที ซึ่งหมายถึงการตอบแทนคุณที่มีผู้ทำไว้ ความกตัญญูและความกตเวทีนี้ เป็นเครื่องหมายของคนดี ทำให้ครอบครัวและสังคมมีความสุข ซึ่งความกตัญญูกตเวทีนั้นสามารถเกิดขึ้นได้กับทั้งบิดามารดาและครูอาจารย์กับศิษย์ นายจ้างกับลูกจ้าง เป็นต้น
ในพระพุทธศาสนา เปรียบพระพุทธเจ้าเสมือนกับ บุพการี ผู้ชี้ให้เห็นทางหลุดพ้นแห่ งความทุกข์
ดังนั้นพุทธศาสนิกชนจึงควรต อบแทนด้วยความกตัญญูกตเวทีด ้วยการทำนุบำรุงพระพุทธศาสน า
และดำรงพระพุทธศาสนาให้อยู่ สืบไป
1. ความกตัญญู คือ การรู้คุณคน เป็นคุณธรรมที่คู่กับความกตเวที ซึ่งหมายถึงการตอบแทนคุณที่มีผู้ทำไว้ ความกตัญญูและความกตเวทีนี้ เป็นเครื่องหมายของคนดี ทำให้ครอบครัวและสังคมมีความสุข ซึ่งความกตัญญูกตเวทีนั้นสามารถเกิดขึ้นได้กับทั้งบิดามารดาและครูอาจารย์กับศิษย์ นายจ้างกับลูกจ้าง เป็นต้น
ในพระพุทธศาสนา เปรียบพระพุทธเจ้าเสมือนกับ
2. อริยสัจ 4 คือ
ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการที่พระพุทธเจ้าทรงตรั สรู้ใน วันวิสาขะบูชา
ได้แก่
1) ทุกข์ คือ ปัญหาของชีวิต สภาวะที่ทนได้ยาก ซึ่งทุกข์ขั้นพื้นฐาน คือ การเกิด
การแก่ และการตาย ล้วนเป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกคน ต้องเผชิญ ส่วนทุกข์จร คือ
ทุกข์ที่เกิดขึ้นในการดำเนิ นชีวิตประจำวัน เช่น การพลัดพลาดจากสิ่งที่เป็นท ี่รัก
หรือ ความยากจน เป็นต้น
2) สมุทัย คือ ต้นเหตุของปัญหา หรือสาเหตุของการเกิดทุกข์ และสาเหตุส่วนใหญ่ของปัญหา
เ กิดจาก
"ตัณหา" อันได้แก่ ความอยากได้ต่างๆ อย่างไม่มีที่สิ้นสุด
เ
3) นิโรธ คือ ความดับทุกข์ เป็นสภาพที่ความทุกข์หมดไป เพราะสามารถดับกิเลส
ตัณหา อุปาทานออกไปได้
4) มรรค คือ หนทางที่นำไปสู่การดับทุกข์ เป็นการปฏิบัติเพื่อแก้ปัญห า
มี 8 ประการ ได้แก่ ความเห็นชอบ ดำริชอบ วาจาชอบ กระทำชอบ เลี้ยงชีพชอบ พยายามชอบ ระลึกชอบ
ตั้งจิตมั่นชอบ
3. ความไม่ประมาท คือ การมีสติตลอดเวลา ไม่ว่าจะทำอะไร พูดอะไร
คิดอะไร ล้วนต้องใช้สติ เพราะสติคือการระลึกได้ การระลึกได้อยู่เสมอจะทำให้ เราใช้ชีวิตอย่างไม่ประมาท
ซึ่งความประมาทนั้นจะทำให้เ กิดปัญหายุ่งยากตามมา ดังนั้นในวันนี้พุทธศาสนิกช นจะพากันน้อมระลึกถึงพระพุท ธเจ้า
พระธรรม และพระสงฆ์ ด้วยความมีสติ
วันวิสาขะบูชา นับว่าเป็นวันที่มีความสำคั ญสำหรับพุทธศาสนิกชนทุกคน
เป็นวันที่มีการทำพิธีพุทธบ ูชา เพื่อเป็นการน้อมรำลึกถึงพร ะวิสุทธิคุณ
พระปัญญาคุณ และพระมหากรุณาธิคุณ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ม ีต่อมวลมนุษย์และสรรพสัตว์
อีกทั้งเพื่อเป็นการรำลึกถึ งเหตุการณ์อันน่าอัศจรรย์ทั ้ง 3 ประการ
ที่มาบังเกิดในวันเดียวกัน และนำหลักธรรมคำสั่งสอนของพ ระพุทธองค์มาเป็นแนวทางในกา รประพฤติปฏิบัติในการดำรงชี วิตให้เกิดความสันติสุขยุติการเวียนว่ายตายเกิดบรรลุมรรคผลพระนิพพาน
---------------------------------------------------------------------------------
No comments:
Post a Comment